คือ ความซับซ้อนของลักษณะพื้นที่ที่แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคของโลก เมื่อประกอบกับสภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศทำให้เกิดระบบนิเวศ หรือถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันไป การที่เราจะค้นพบสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่แต่ละพื้นที่ได้โดยผ่านการคัดเลือกตามธรรมชาติ ตามกระบวนการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
(Ecological Diversity)


การจำแนกสิ่งมีชีวิต



อริสโตเติล
แบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นพืช สัตว์มีเลือดสีแดง สัตว์ที่ไม่มีเลือดสีแดง
จอห์น เรย์
ใช้คำว่า Spicies เรียกชนิดของสิ่งมีชีวิต แบ่งพืชดอกออกเป็นพืชใบเลี้ยงคู่ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
คาโรลัส ลินเนียส
วางรากฐานวิธีการจำแนกพืชและสัตว์ จัดแบ่งพืชโดยใช้จำนวนเกสรตัวผู้ จัดแบ่งสัตว์ออกเป็น 6 กลุ่ม
เกณฑ์การจัดจำแนกความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ลักษณะภายนอก เช่น รูปร่าง โครงสร้าง แหล่งที่อยู่อาศัย




















การจำแนกสิ่งมีชีวิตของ Carl Linneus
เกณฑ์แหล่งที่อยู่อาศัย

ไส้เดือนอยู่ในดินที่ชื้นแฉะ

แมลงอาศัยในพงหญ้า
การจำแนกสิ่งมีชีวิตของ Carl Linneus
เกณฑ์แหล่งที่อยู่อาศัย


ปลาอยู่ในน้ำ
กบอาศัยในที่ชื้นแฉะ
การจำแนกสิ่งมีชีวิตของ Carl Linneus
เกณฑ์แหล่งที่อยู่อาศัย

นก อยู่บนต้นไม้

ลิง อยู่ในป่า
ความหลากหลายของระบบนิเวศ

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่ต่างกัน
=
ความหลากหลายของที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเฉพาะต่อระบบนิเวศนั้นๆ
ประเภทของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต(ชีวภาพ)
- - ความหลากหลายของระบบนิเวศ
- - ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
- - ความหลากหลายทางพันธุกรรม

ความหมายของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต(ชีวภาพ)
การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์อันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยที่มีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก ซึ่งเกิดจากการสะสมความแตกต่างของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในระยะเวลานาน และเป็นผลมาจากการเกิดวิวัฒนาการ โดยเริ่มจากการเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรม เป็นผลให้เกิดความหลากหลายทางสปีชีส์บนความแตกต่างความหลากหลายทาง ระบบนิเวศ




ความหลากหลายของระบบนิเวศป่าไม้

ชนิดของป่าไม้ในประเทศไทย

ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest)
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าป่าเบญจพรรณ เป็นป่าไม้ที่ผลัดใบตามฤดูกาล ลักษณะเป็นป่าโปร่ง ประกอบด้วยต้นไม้ขนาดใหญ่ กลาง เล็กปะปนกันไป มีประมาณ 70% ของป่าในประเทศไทย มีอยู่มากทางภาคเหนือ ภาคกลาง และพบกระจัดกระจายทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนทางภาคใต้ไม่พบป่าชนิดนี้เลย
ชนิดของป่าไม้ในประเทศไทย

ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest)
ป่าประเภทนี้จะดูเขียวชอุ่มตลอดปี แม้จะมีพันธุ์ไม้บางชนิดมีการทิ้งใบตามธรรมชาติแต่ก็จะเกิดใหม่ทดแทนตลอดเวลา มีประมาณ 30% ของป่าในประเทศไทย แบ่งเป็น 4 ชนิด คือ ป่าดงดิบ ป่าดิบเขา ป่าชายเลน ป่าพรุ
ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest)
ป่าดิบชื้น (Tropical Rain Forest)
เป็นป่าฝนเขตร้อน มีฝนตกชุกตลอดปี มีความชุ่มชื้นในดินค่อนข้างสูงและสม่ำเสมอตลอดทั้งปี มีอยู่บริเวณภาคใต้ตอนล่าง นอกจากนี้ยังพบในพื้นที่ฝนตกชุก ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปีสูงบริเวณจังหวัดจันทบุรีตอนล่าง และเขตจังหวัดตราด

ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest)

ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest)
เป็นป่าไม่ผลัดใบ ที่มีไม้ผลัดใบมาขึ้นผสมในปริมาณมาก ป่าดิบแล้งที่เกิดเป็นผืนใหญ่พบที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ และอุทยานแห่งชาติทับลาน ป่าดิบแล้งคงสภาพอยู่ได้เนื่องจากมีฤดูกาลแห้งแล้งต่อเนื่องกันอย่างน้อย 3 เดือน ดินลึกแต่กักเก็บน้ำไม่ดีนัก พืชที่ชอบน้ำมากจึงขึ้นอยู่ไม่ได้
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest)
ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)

เป็นป่าที่อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 1,000 เมตรขึ้นไป ส่วนใหญ่อยู่บนเทือกเขาทางภาคเหนือและบางแห่งทางภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พืชที่สำคัญได้แก่ไม้วงศ์ก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย อบเชย และไม่จำพวกสนเขาขึ้นปะปน ส่วนไม้พื้นล่างจะเป็นพวกเฟิร์น กล้วยไม้ดิน มอส ป่าชนิดนี้มักอยู่บริเวณต้นน้ำลำธาร
- Full access to our public library
- Save favorite books
- Interact with authors
คือ ความซับซ้อนของลักษณะพื้นที่ที่แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคของโลก เมื่อประกอบกับสภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศทำให้เกิดระบบนิเวศ หรือถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันไป การที่เราจะค้นพบสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่แต่ละพื้นที่ได้โดยผ่านการคัดเลือกตามธรรมชาติ ตามกระบวนการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
(Ecological Diversity)


การจำแนกสิ่งมีชีวิต



อริสโตเติล
แบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นพืช สัตว์มีเลือดสีแดง สัตว์ที่ไม่มีเลือดสีแดง
จอห์น เรย์
ใช้คำว่า Spicies เรียกชนิดของสิ่งมีชีวิต แบ่งพืชดอกออกเป็นพืชใบเลี้ยงคู่ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
คาโรลัส ลินเนียส
วางรากฐานวิธีการจำแนกพืชและสัตว์ จัดแบ่งพืชโดยใช้จำนวนเกสรตัวผู้ จัดแบ่งสัตว์ออกเป็น 6 กลุ่ม
เกณฑ์การจัดจำแนกความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ลักษณะภายนอก เช่น รูปร่าง โครงสร้าง แหล่งที่อยู่อาศัย




















การจำแนกสิ่งมีชีวิตของ Carl Linneus
เกณฑ์แหล่งที่อยู่อาศัย

ไส้เดือนอยู่ในดินที่ชื้นแฉะ

แมลงอาศัยในพงหญ้า
- < BEGINNING
- END >
-
DOWNLOAD
-
LIKE(1)
-
COMMENT()
-
SHARE
-
SAVE
-
BUY THIS BOOK
(from $4.79+) -
BUY THIS BOOK
(from $4.79+) - DOWNLOAD
- LIKE (1)
- COMMENT ()
- SHARE
- SAVE
- Report
-
BUY
-
LIKE(1)
-
COMMENT()
-
SHARE
- Excessive Violence
- Harassment
- Offensive Pictures
- Spelling & Grammar Errors
- Unfinished
- Other Problem
COMMENTS
Click 'X' to report any negative comments. Thanks!